จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

วัฒนธรรม

ความหมายของวัฒนธรรม
แบบแผนการดำรงชีวิตของบุคคลในสังคมที่ยึดถือปฏิบัติเป็นมรดกสืบทอดกันต่อมา ซึ่งแสดงถึงความเจริญงอกงามและศีลธรรมอันดีงามของคนในสังคม 
ความสําคัญของวัฒนธรรม
วัฒนธรรม คือ มรดกแหงสังคมที่มนุษยไดสรางสรรคขึ้น และไดรับการถายทอดกันมาจาก
อดีตสูปจจุบัน เปนผลผลิตที่แสดงถึงความเจริญงอกงามทั้งดานวัตถุและที่ไมใชวัตถุ เชน อุดมการณ 
คานิยม ประเพณี ศีลธรรม กฎหมายและศาสนา เปนตน
พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแหงชาติ พุทธศักราช 2485กลาววา วัฒนธรรม หมายถึง ลักษณะ
ที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบเรียบรอย ความกลมเกลียวกาวหนาของชาติ และ
ศีลธรรมอันดีงามของประชาชน
สรุปไดวา วัฒนธรรม หมายถึงวิธีการดํารงชีวิตของมนุษยที่แสดงถึงความเจริญงอกงามใน
การอยูรวมกัน เปนการสรางสรรคของมนุษยที่แสดงออกในลักษณะวัตถุและไมใชวัตถุแลวถายทอดสืบตอ
กันมา
ความสําคัญของวัฒนธรรม มีอยู 5 ประการ คือ
1. วัฒนธรรมชวยใหมนุษยสะดวกสบายขึ้น ชวยแกปญหาและสนองความตองการตาง ๆ 
ของมนุษย สามารถเอาชนะธรรมชาติไดเพราะสรางวัฒนธรรมขึ้นมาชวย
2. วัฒนธรรมทําใหสมาชิกในสังคมมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน มีความสามัคคีกัน
3. วัฒนธรรม แสดงถึงเอกลักษณของชาติ ชาติที่มีวัฒนธรรมสูงยอมไดรับการยกยอง และ
เปนหลักประกันความมั่นคงของชาติ
4. วัฒนธรรมกําหนดพฤติกรรมของคนในสังคม ชวยใหคนในสังคมอยูรวมกันอยางสันติสุข
5. วัฒนธรรมทําใหประเทศชาติมีความเจริญรุงเรือง
1.2 ความหมายความสําคัญของประเพณี
 ประเพณี หมายถึง แบบความประพฤติที่คนสวนรวมถือเปนธรรมเนียมหรือระเบียบแบบ
แผนและปฏิบัติสืบตอกันมาชานาน จนเกิดเปนแบบอยางความคิดหรือการกระทําที่ไดสืบตอกันมา และ
ยังมีอิทธิพลอยูในปจจุบัน ซึ่งอยูในรูปแบบของ จารีต ประเพณี ขนบประเพณี และขนบธรรมเนียม
ประเพณี 
 จารีตประเพณี คือประเพณีที่เกี่ยวของกับศีลธรรมและจิตใจ เชน การตอบแทนบุญคุณบิดา 
มารดา บุพการี การเลี้ยงดูเมื่อทานแกเฒา การเคารพเชื่อฟงครู อาจารย การนับถือบรรพบุรุษ
 ขนบประเพณี คือประเพณีที่ประพฤติปฏิบัติกันอยูทั่วไปมาอยางเปนระเบียบ บังคับใหคน
ในสังคมนั้น ๆ ยึดถือและปฏิบัติตาม เชน กฎหมาย กฎระเบียบ และขอบังคับตาง ๆ และมีขนบประเพณีที่
คนในสังคมไมตองปฏิบัติตามเสมอไป เชน ประเพณีการโกนจุก เปนตน
ธรรมเนียมประเพณี คือประเพณีที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติระหวางบุคคลที่สังคมยอมรับ เชน 
การทักทาย การไหว การเดิน กิริยามารยาท เปนตน26
 นอกจากนี้ยังมีประเพณีทางศาสนา เชน วันโกน วันพระ ประเพณีเกี่ยวกับการเกิด การตาย 
การโกนผมไฟ ประเพณีเกี่ยวกับครอบครัว เชน การปลูกเรือน ประเพณีเกี่ยวกับเทศกาลตาง ๆ เชน ตรุษ
ไทย วันสงกรานต วันลอยกระทง และแตละภาคและทองถิ่นมีประเพณีแตกตางกันออกไป
 ความสําคัญของประเพณี มีอยู 5 ประเภทคือ
1. เปนเครื่องบอกความเจริญของชาตินั้น ๆ ชาติที่เจริญในปจจุบัน มีประเพณีตาง ๆ ที่
แสดงถึงความเจริญกาวหนา
2. ประเพณีสวนมากสืบคนความเปนมาของประเพณีนั้น ๆ ตั้งแตอดีตเชื่อมโยงถึงปจจุบัน
ประเพณีจึงสามารถใชเปนแนวทางในการศึกษาประวัติศาสตรไดเปนอยางดี
3. ประเพณีทําใหคนในสังคมเกิดความภาคภูมิใจในความดีงามของเผา และชาติบานเมือง
ตนเอง
4. ประเพณีทําใหคนในสังคมไดทํากิจกรรมรวมกัน อันเปนการดํารงความรักสามัคคี ทํา
ใหคนในเผา ชุมชน ภาค และเปนชาติมีความมั่นคงสืบตอกันมา
5. ประเพณีเปนสัญลักษณที่สําคัญ ซึ่งแสดงออกความเปนเผา ชุมชน ภาค เปนชาต




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น